โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะเคียนบังอิง
ตำบลศรีสะอาด อำเภอขุขันธ์
จังหวัดศรีสะเกษ
หมู่บ้านที่รับผิดชอบทั้งหมด จำนวน
๙ หมู่บ้าน
ประชากรทั้งหมด ๔,๕๙๘ คน ประชากร ชาย ๒,๒๓๙
คน หญิง ๒,๓๕๙ คน
·
อัตรากำลังของบุคลากรแต่ละประเภทต่อจำนวนประชากร
อัตรากำลังบุคลากร จำนวน
๖ คน
-
นักวิชาการสาธารณสุข
๒
คน (คิดเป็นอัตราส่วน ๒,๒๙๙
คน)
-
พยาบาลวิชาชีพ ๑ คน (พยาบาลวิชาชีพ ๑ คน คิดเป็นอัตราส่วน ๔,๕๙๘ คน)
-
ทันตสาธารณสุข ๑ คน (ทันตสาธารณสุข ๑ คน คิดเป็นอัตราส่วน ๔,๕๙๘ คน)
-
ลูกจ้างชั่วคราว ๓
คน
วิสัยทัศน์โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะเคียนบังอิง
“เราจะเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ที่ให้บริการประชาชนโดยบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ
โดยนำเทคโนโลยีทาง การแพทย์
ระบบสารสนเทศและภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้อย่างเหมาะสมเพื่อให้มีคุณภาพการบริการที่ประทับใจแก่ประชาชน”
พันธกิจ
๑.
การให้บริการด้านสาธารณสุขแบบองค์รวมทั้งด้านรักษาพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค และฟื้นฟูสภาพ
ด้วยมาตรฐานที่ดี
๒.
พัฒนาศักยภาพบุคลากร โดยส่งเสริมการศึกษาและฝึกอบรมอย่างต่อเนื่อง
เพื่อให้ทุกคนมีความรู้ทางด้านวิชาการ และทักษะการบริการ
ที่ดีเหมาะสมกับลักษณะงานที่รับรับผิดชอบ
๓.
จัดหาครุภัณฑ์ และอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ได้มาตรฐานและเพียงพอในการบริการ
๔. นำระบบข้อมูลข่าวสารและสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมมาใช้
เพื่อสนับสนุนการบริการในด้านต่าง ๆ
๕.
ส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดบริการและการพัฒนาด้านสุขภาพ
วัฒนธรรมองค์กร
๑.
ให้บริการตามมาตรฐานวิชาชีพโดยยึดผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง
๒.
ให้บริการโดยยึดหลักเสมอภาค
๓.
ทำงานโดยยึดหลักการทำงานเป็นทีม และเคารพมติส่วนใหญ่
๔.
ให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมประชุม/ทำกิจกรรม/โครงการต่าง ๆ
๕.
ให้ความร่วมมือในการประหยัดพลังงาน
๖.
ให้บริการผู้มาติดต่อราชการ
ให้ได้รับความสะดวก
รวดเร็วเป็นอย่างดี และยินดีต้อนรับผู้มารับบริการด้วยความเต็มใจ
๗.
การแต่งกายสุภาพ เหมาะสม ถูกต้องตามข้อตกลงขององค์กร
๘.
ส่งเสริมสุขภาพและเป็นแบบอย่างที่ดีด้านสุขภาพ
เช่นการออกกำลังกาย,การรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ, การสวมหมวกกันน็อค
คาดเข็มขัดนิรภัย เป็นต้น
๙.
จะร่วมมือกันในการพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง
รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน
รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน
|
หน่วยวัด
|
ผลการดำเนินงานในอดีต
ปีงบประมาณ พ.ศ.
|
||
๒๕๕๖
|
๒๕๕๗
|
๒๕๕๘
|
||
จำนวนประชากร
|
คน
|
๔,๘๐๐
|
๔,๗๕๑
|
๔,๖๘๙
|
สาเหตุการตาย ๕ อันดับแรก
|
โรค
|
๑.
โรคหัวใจล้มเหลว
๒.
โรคมะเร็งตับ
๓.
โรคหัวใจและโรคไตจากความดันโลหิตสูง
๔.
อุบัติเหตุจากการจมน้ำ
๕.
อุบัติเหตุจากการถูกน้ำร้อนลวก
|
๑.
โรคหัวใจล้มเหลว
๒.
ไตวาย
๓.
โรคมะเร็งท่อน้ำดี
๔.
โรคมะเร็งตับ
|
๑.
โรคหัวใจล้มเหลว
๒.
ไตวาย
๓.
โรคมะเร็งเต้านม
|
ปัญหาสำคัญของพื้นที่ ๓
อันดับแรก
|
ปัญหา
|
๑.
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
๒.
โรคไข้เลือดออก
๓.
อุบัติเหตุจากการใช้รถใช้ถนน
|
๑.
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
๒.
การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
๓.
อุบัติเหตุจากการใช้รถใช้ถนน
|
๑.
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
๒.
โรคเลปโตสไปโรซิส
๓.
อุบัติเหตุจากการใช้รถใช้ถนน
|
จากข้อมูลย้อนหลัง ๓ ปี
พบว่าโรคที่มีการเสียชีวิตมากที่สุดในพื้นที่ได้แก่ โรคหัวใจล้มเหลว
รองลงมาเป็นโรคไตวาย และโรคมะเร็งตับ ตามลำดับ และปัญหาที่สำคัญของพื้นที่เรียงจากลำดับความสำคัญของปัญหาจากข้อมูลย้อนหลัง
๓ ปี พบว่าปัญหาที่สำคัญอับดับที่ ๑ ได้แก่ โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โอกาสในการพัฒนา จากปัจจัยภายใน
จุดแข็ง (S)
|
จุดอ่อน (W)
|
S๑ ผู้บริหารมีภาวะผู้นำ กระตือรือร้น มุ่งมั่น โปร่งใส
S๒ มีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบที่ชัดเจน
S๓มีทีมงานที่ดีและเข้มแข็ง เสียสละทำงานมุ่งผลสัมฤทธิ์
S๔ ได้รับการพัฒนาเป็น รพ.สต. ปี ๒๕๕๓
S๕ มีระบบ IT ที่ทันสมัย ใช้ในการรักษาระบบทางไกล
|
W๑อุปกรณ์และเครื่องมือในการให้บริการทันตกรรมอุปกรณ์ ไม่ครบ
W๓ งบประมาณไม่เพียงพอ
การโอนเงินล่าช้า
|
โอกาสในการพัฒนา
จากปัจจัยภายนอก
โอกาส ( O )
|
อุปสรรค ( T )
|
O๑ ประชาชนสามารถเข้าถึงสถานบริการสาธารณสุขได้
รวดเร็วโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพอยู่ใกล้ชุมชน
O๒ พื้นที่เป็นสังคมกึ่งชนบทและมีวัฒนธรรมไม่ซับซ้อน
คล้ายคลึงกันในทุกหมู่บ้าน
O๓ มีภาคเครือข่ายที่ดีมีความเข้มแข็ง
O๔ มีสื่อในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เช่น หอกระจายข่าว ในหมู่บ้าน วิทยุชุมชน
ผู้นำ
O๕ มีนโยบาย รพ.สต.สื่อการสร้างกระแสการพัฒนา
|
T๑ ประชาชนมีพฤติกรรมบริโภคไม่ถูกต้องส่งผลให้มีโรคไม่ติดต่อเพิ่มขึ้น (DM/HT)
T๒ ประชาชนขาดความตระหนักในการสร้างสุขภาพ
T๓ ปัญหาเศรษฐกิจทำให้ประชาชนต้องไปทำงานต่างถิ่น ส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพและสังคม
|
การนำปัจจัยภายใน(S – W)และปัจจัยภายนอก (O-T) ในข้อที่สำคัญมาให้น้ำหนัก(Weight)
การประเมิน(Rating) คะแนนถ่วงน้ำหนัก(Weigthed
Score)
การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงกลยุทธ์
ในองค์กร S
- W
ปัจจัยเชิงกลยุทธ์ในองค์กร
|
น้ำหนักถ่วง
|
การประเมิน
|
คะแนนรวมที่ถ่วงน้ำหนักแล้ว
|
S๑ ผู้บริหารมีภาวะผู้นำ กระตือรือร้น มุ่งมั่น โปร่งใส
|
๐.๑๖
|
๓
|
๐.๔๘
|
S๒ มีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบที่ชัดเจน
|
๐.๑๐
|
๓
|
๐.๓๐
|
S๓ มีทีมงานที่ดีและเข้มแข็ง เสียสละทำงานมุ่งผลสัมฤทธิ์
|
๐.๑๘
|
๕
|
๐.๙๐
|
S๔ ได้รับการพัฒนาเป็น รพ.สต. ปี ๒๕๕๓
|
๐.๑๓
|
๒
|
๐.๕๒
|
S๕ มีระบบ IT ที่ทันสมัย ใช้ในการรักษาระบบทางไกล
|
๐.๑๔
|
๓
|
๐.๕๖
S=๒.๗๖
|
W๑ ขาดอุปกรณ์และเครื่องมือในการให้บริการทันตกรรม
(Unit
ทำฟัน)
|
๐.๐๙
|
๓
|
๐.๓๖
|
W๒ภาระงานมากเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานเชิงรุกได้ไม่ครอบคลุม
|
๐.๐๗
|
๔
|
๐.๒๑
|
W๓ การบูรณาการการทำงานกับองค์กรต่างๆยังไม่ต่อเนื่อง
|
๐.๐๗
|
๔
|
๐.๒๘
|
W๔ งบประมาณไม่เพียงพอ
การโอนเงินล่าช้า
|
๐.๐๖
|
๔
|
๐.๒๔
W=๑.๑๖
|
การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงกลยุทธ์
นอกองค์กร O
- T
ปัจจัยเชิงกลยุทธ์ในองค์กร
|
น้ำหนักถ่วง
|
การประเมิน
|
คะแนนรวมที่ถ่วงน้ำหนักแล้ว
|
O๑ ประชาชนสามารถเข้าถึงสถานบริการสาธารณสุขได้
รวดเร็วโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพอยู่ใกล้ชุมชน
|
๐.๑๔
|
๔
|
๐.๕๖
|
O๒พื้นที่เป็นสังคมกึ่งชนบทและมีวัฒนธรรมไม่ซับซ้อนคล้ายคลึงกันในทุกหมู่บ้าน
|
๐.๐๘
|
๓
|
๐.๒๔
|
O๓ มีภาคเครือข่ายที่ดีมีความเข้มแข็ง
|
๐.๒๔
|
๕
|
๑.๒๐
|
O๔ มีสื่อในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
|
๐.๐๙
|
๓
|
๐.๒๗
|
O๕ มีนโยบาย รพ.สต.สื่อการสร้างกระแสการพัฒนา
|
๐.๑๘
|
๔
|
๐.๗๒
O=๒.๙๙
|
T๑ประชาชนมีพฤติกรรมบริโภคไม่ถูกต้องส่งผลให้มีโรคไม่ติดต่อเพิ่มขึ้น(DM/HT)
|
๐.๐๘
|
๔
|
๐.๗๒
|
T๒ ประชาชนขาดความตระหนักในการสร้างสุขภาพ
|
๐.๑๐
|
๓
|
๐.๒๔
|
T๓ปัญหาเศรษฐกิจทำให้ประชาชนต้องไปทำงานต่างถิ่น ส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพและสังคม
|
๐.๐๙
|
๔
|
๐.๓๖
T=๑.๓๘
|
การกำหนดกลยุทธ์จาก SWOTS Analysis
TOWS MATRIX
S = ๒.๗๖
W = ๑.๑๖
O = ๒.๙๙
T = ๑.๓๘
การกำหนดกลยุทธ์จาก Tows Matrix
ปัจจัยภายใน
ปัจจัยภายนอก
|
จุดแข็ง (S)
S๑ผู้บริหารมีภาวะผู้นำกระตือรือร้น มุ่งมั่น โปร่งใส
S๒ มีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบที่ชัดเจน
S๓มีทีมงานที่ดีและเข้มแข็งเสียสละทำงานมุ่งผลสัมฤทธิ์
S๔ได้รับการพัฒนาเป็น รพ.สต. ปี ๒๕๕๓
S๕ มีระบบ IT ที่ทันสมัย ใช้ในการรักษาระบบทางไกล
|
จุดอ่อน (W)
W
๑ ภาระงานมากเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานเชิงรุกได้ไม่ครอบคลุม
W ๒ ภาระงานมากเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานเชิงรุกได้ไม่ครอบคลุม
W ๓ งบประมาณไม่เพียงพอ
การโอนเงินล่าช้า
|
โอกาส (O)
O๑ประชาชนสามารถเข้าถึงสถานบริการสาธารณสุขได้รวดเร็ว
O๒พื้นที่เป็นสังคมชนบทและมีวัฒนธรรมไม่ซับซ้อนคล้ายคลึงกันในทุกหมู่บ้าน
O๓มีภาคเครือข่ายที่ดีมีความเข้มแข็ง
O๔มีหอกระจายข่าวเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในหมู่บ้าน
O๕ มีนโยบาย รพ.สต.
|
SO Strategies
๑.พัฒนาเครือข่ายสุขภาพชุมชนให้เกิดการดูแลสุขภาพโดยชุมชนเองแบบยั่งยืน
(
S๑,S๒, S๔,S๕, ,O๑,O๓,O๔,O๕)
|
WO Strategies
๑. พัฒนาระบบบริการเชิงรุกให้มีคุณภาพ
มีความต่อเนื่องและยั่งยืน
(W๑,W๒,W๓, O๑, O๒,O๓,O๔,O๕)
๒.จัดหาบุคลากรสาธารณสุข
(w๑,W๒,O๓,O๕)
|
ภาวะคุกคาม (T)
T๑ประชาชนมีพฤติกรรมบริโภคไม่ถูกต้องส่งผลให้มีโรคไม่ติดต่อเพิ่มขึ้น(DM/HT)
T๒ ประชาชนขาดความตระหนักในการสร้างสุขภาพ
T๓ปัญหาเศรษฐกิจทำให้ประชาชนต้องไปทำงานต่างถิ่นส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพและสังคม
|
ST Strategies
๑.เสริมสร้างกระบวนการสร้างสุขภาพแบบองค์รวมโดยชุมชนมีส่วนร่วม
(S๑, S๓,T๑,T๒)
|
WT Strategies
๑.ปรับปรุงกระบวนการในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน
(W๓, T๑,T๒)
|
การจัดลำดับความสำคัญของกลยุทธ์
กลยุทธ์
|
ความยากง่าย
(๑-๔)
|
ค่าใช้จ่าย
(๑-๔)
|
การยอมรับ
(๑-๔)
|
ความเป็นไปได้
(๑-๔)
|
รวม
(๑๖)
|
ลำดับที่
|
พัฒนาเครือข่ายสุขภาพชุมชนให้เกิดการดูแลสุขภาพโดยชุมชนเองแบบยั่งยืน
|
๒
|
๒
|
๒
|
๒
|
๘
|
๕
|
พัฒนาระบบบริการเชิงรุกให้มีคุณภาพ
มีความต่อเนื่องและยั่งยืน
|
๓
|
๔
|
๔
|
๔
|
๑๕
|
๑
|
จัดหาบุคลากรด้านสาธารณสุข
|
๒
|
๒
|
๔
|
๒
|
๑๐
|
๔
|
เสริมสร้างกระบวนการสร้างสุขภาพ
แบบองค์รวมโดยชุมชนมีส่วนร่วม
|
๓
|
๔
|
๓
|
๒
|
๑๒
|
๒
|
ปรับปรุงกระบวนการในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน
|
๓
|
๓
|
๒
|
๓
|
๑๑
|
๓
|
สรุปการคัดเลือกกลยุทธ์จากการจัดลำดับความสำคัญ
๑. พัฒนาระบบบริการเชิงรุกให้มีคุณภาพ
มีความต่อเนื่องและยั่งยืน
๒. เสริมสร้างกระบวนการในการสร้างสุขภาพแบบองค์รวม
โดยชุมชนมีส่วนร่วม
๓. ปรับปรุงกระบวนการในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน
๔. จัดหาบุคลากรด้านสาธารณสุข
๕. พัฒนาเครือข่ายสุขภาพชุมชนให้เกิดการดูแลสุขภาพโดยชุมชนเองแบบยั่งยืน
การเสนอแนวทางแก้ไขปัญหา/พัฒนา
กลยุทธ์
|
โครงการ
|
๑.พัฒนาระบบบริการเชิงรุกให้มีคุณภาพมีความต่อเนื่องและยั่งยืน
|
โครงการพัฒนาศักยภาพทีมสุขภาพเพื่อการให้บริการเชิงรุกที่มีคุณภาพและต่อเนื่อง
|
๒.เสริมสร้างกระบวนการในการสร้างสุขภาพแบบองค์รวม โดยชุมชนมีส่วนร่วม
|
โครงการพัฒนากระบวนการเสริมสร้างสุขภาพของประชาชนโดยชุมชนมีส่วนร่วม
|
๓.ปรับปรุงกระบวนการในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน
|
โครงการปรับกระบวนการในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาพ
|
๔.จัดหาบุคลากรด้านสาธารณสุข
|
โครงการจัดหาบุคลากรเพื่อพัฒนาคุณภาพด้านบริการ
|
๕.พัฒนาเครือข่ายสุขภาพชุมชนให้เกิดการดูแลสุขภาพโดยชุมชนเองแบบยั่งยืน
|
โครงการหมู่บ้านต้นแบบในการพึ่งตนเองด้านการดูแลสุขภาพ
|
แผนปฏิบัติการในการแก้ไขปัญหา
แผนยุทธศาสตร์ที่ ๑.
พัฒนาหน่วยบริการให้ได้มาตรฐานทุกด้าน
โครงการ
|
วัตถุประสงค์
|
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
|
ระยะเวลา
|
กิจกรรม
|
งบประมาณ
|
การประเมินผล
|
ผู้รับผิดชอบ
|
๑.พัฒนาระบบบริหารและการจัดการด้านสุขภาพให้ได้ตามมาตรฐาน
๒.โครงการพัฒนาคุณภาพผู้ให้บริการด้วยใจ
|
-เพื่อให้
จนท. ได้รับการพัฒนาตามภาระงาน
-เพื่อสร้างวัฒนธรรมองค์กรและบรรยากาศในการทำงาน
-เพื่อให้ผู้รับบริการเข้าถึงบริการทั้งเชิงรุกและเชิงรับอย่างพึงพอใจ
|
ร้อยละตาม KPI
ร้อยละ
๘๐
ของความพึงพอใจของประชาชนต่อการรับบริการ
|
ต.ค.๕๘
– ก.ย.๕๙
ต.ค.๕๘
– ก.ย.๕๙
|
-กิจกรรมวิเคราะห์งานและสมรรถนะของจนท.รายบุคคล
จัดกิจกรรมพัฒนาองค์กรเพื่อบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ (OD)
|
จากCUP
จากCUP
|
-KPI ของภาระกิจหลัก
-ผล
competency
Gapping
ขององค์กร
-ผลKPI รายบุคคลครอบคลุม จนท.
-ผลการประเมินความพึงพอใจของจนท.ในการบริการ
-ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ
|
ผอ.รพ.สต.และจนท.ทุกคน
ผอ.รพ.สต.และจนท.ทุกคน
|
แผนปฏิบัติการในการแก้ไขปัญหา
แผนยุทธศาสตร์ที่
๒.พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือองค์กรในชุมชน
โครงการ
|
วัตถุประสงค์
|
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
|
ระยะเวลา
|
กิจกรรม
|
งบประมาณ
|
การประเมินผล
|
ผู้รับผิดชอบ
|
๒.๑
โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายสุขภาพ
|
๑.เพื่อสร้างเครือข่ายด้านสุขภาพในชุมชนให้เข้มแข็ง
๒.เพื่อพัฒนารูปแบบการสร้างสุขภาพโดยชุมชน
|
๑.มีเครือข่ายด้านสุขภาพในชุมชนให้เข้มแข็ง
๒.มีรูปแบบการสร้างสุขภาพโดยชุมชน
|
ต.ค.๕๘
– ก.ย.๕๙
|
จัดกิจกรรมอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำเพื่อการดูแลสุขภาพโดยชุมชน
(อสม.อปท.ขรก.
ในพื้นที่และผู้นำชุมชน)
|
กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล
|
-เครือข่ายด้านสุขภาพในชุมชนเข้มแข็ง
|
ผอ.รพ.สต.และจนท.ทุกคน
|
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
ตอบลบ